บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
( Science Experiences Management for Early Childhood )
อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
วัน ศุกร์ ที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2557
เวลา 13:10 - 16:40 น.
กิจกรรมพับกระดาษ
วิธีทำ
* พับกระดาษครึ่งหนึ่งเท่าๆกัน
* วาดภาพลงบนกระดาษตามจินตนาการ (ทั้งสองด้าน)
* นำก้านไม้ลูกชิ้นมา ใช้เตปใส หรือกาวติดไปที่กระดาษตรงกลางข้างใน
* จากนั้นใช้แม็ค แม็คกระดาษทั้งสองด้าน
วิธีการเล่น
* นำก้านไม้ลูกชิ้นที่ประดิษฐ์เรียบร้อยแล้วนำมาวางไว้ตรงกลางมือใช้มือซ้ายและมือขวาประกลบเข้าหากันและเรื้อนไปข้างหน้าข้างหลังให้ก้านไม้ลูกชิ้นหมุนไปหมุนมา มองดูจะเป็นภาพ3มิติ เหมือนดังภาพปลานั้นจะเหมือนอยู่ใหนโหลปลา
ข้อผิดพลาด
* ดังภาพปลานั้นใหญ่กว่าโหลจึงทำให้ตัวปลาเกินออกจากโหล ไม่มีความพอดี เนื่องจากว่าครั้งแรกไม่ทราบว่าสิ่งที่ทำนี้คืออะไรนั้นเอง
ข้อแก้ไข
* เมื่อทราบถึงข้อผิดพลาดจึงทำให้มีการเรียนรู้ และนำไปปรับใช้ในการจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสม สมบูรณ์ เช่นการจัดประสบการณ์ให้แก่เด็กปฐมวัย
Evaluation
Self : มีความตั้งใจในการเรียนรู้ที่จะทำกิจกรรมในห้องเรียนมีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์จากเพื่อนในห้องเรียน ก่อนการทำกิจกรรมนั้นมีแนวความคิดที่แตกต่างจากเพื่อน
Friends :เพื่อนทุกคนต่างตื่นเต้นในการเรียนรู้ที่จะทำกิจกรรมในห้องเรียน เพื่อนบางคนมีความคิดที่แปลกใหม่
Teacher : มีเทคนิคการสอนที่ดี มีการวางแผนในการให้นักศึกษาทำกิจกรรม โดยไม่กำหนดหรือปิดกั้นความคิด จินตนาการของผู้เรียน เมื่อนักศึกษาทำสื่อเสร็จ อาจารย์มีการสรุปในการเรียนเกี่ยวกับกิจกรรมในครั้งนี้ เพื่อเป็นแนวทางในการเรียนรู้การจัดประสบการณ์จริงให้เกิดการเรียนรู้กับเด็กปฐมวัยต่อไป
* นำก้านไม้ลูกชิ้นที่ประดิษฐ์เรียบร้อยแล้วนำมาวางไว้ตรงกลางมือใช้มือซ้ายและมือขวาประกลบเข้าหากันและเรื้อนไปข้างหน้าข้างหลังให้ก้านไม้ลูกชิ้นหมุนไปหมุนมา มองดูจะเป็นภาพ3มิติ เหมือนดังภาพปลานั้นจะเหมือนอยู่ใหนโหลปลา
ข้อผิดพลาด
* ดังภาพปลานั้นใหญ่กว่าโหลจึงทำให้ตัวปลาเกินออกจากโหล ไม่มีความพอดี เนื่องจากว่าครั้งแรกไม่ทราบว่าสิ่งที่ทำนี้คืออะไรนั้นเอง
ข้อแก้ไข
* เมื่อทราบถึงข้อผิดพลาดจึงทำให้มีการเรียนรู้ และนำไปปรับใช้ในการจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสม สมบูรณ์ เช่นการจัดประสบการณ์ให้แก่เด็กปฐมวัย
Evaluation
Self : มีความตั้งใจในการเรียนรู้ที่จะทำกิจกรรมในห้องเรียนมีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์จากเพื่อนในห้องเรียน ก่อนการทำกิจกรรมนั้นมีแนวความคิดที่แตกต่างจากเพื่อน
Friends :เพื่อนทุกคนต่างตื่นเต้นในการเรียนรู้ที่จะทำกิจกรรมในห้องเรียน เพื่อนบางคนมีความคิดที่แปลกใหม่
Teacher : มีเทคนิคการสอนที่ดี มีการวางแผนในการให้นักศึกษาทำกิจกรรม โดยไม่กำหนดหรือปิดกั้นความคิด จินตนาการของผู้เรียน เมื่อนักศึกษาทำสื่อเสร็จ อาจารย์มีการสรุปในการเรียนเกี่ยวกับกิจกรรมในครั้งนี้ เพื่อเป็นแนวทางในการเรียนรู้การจัดประสบการณ์จริงให้เกิดการเรียนรู้กับเด็กปฐมวัยต่อไป
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น