สรุป VDO ความลับของแสง
Electronics Portfolio Science Experiences Management for Early Childhood
วันพฤหัสบดีที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2557
วันพุธที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2557
Lesson 10
บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
( Science Experiences Management for Early Childhood )
อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
วัน ศุกร์ ที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2557
เวลา 13:10 - 16:40 น.
4.ถามเด็กที่เป็นปากกามีเท่าไหร่ และ ไม่ใช่ปากกามีเท่าไหร่ คิดว่าเท่ากันหรือไม่?5.นับเพื่อพิสูจน์ โดยนับทีละ1:1 (คือหยิบปากกา1แท่ง และไม่ใช่ปากกา1แท่ง)6.สรุปว่าปากกามีทั้งหมด__แท่ง เมื่อส่วนที่เหลือคือ ดินสอ ที่ยังไม่หมด แสดงว่าดินสอมีมากกว่าถามเด็กว่ามากกว่าอยู่เท่าไหร่ (ส่วนที่เหลือ 1 แท่ง )
Activities : 1.อาจารย์สาธิตและสอนเป็นกิจกรรมตัวอย่าง
สื่อ : ปากกา ดินสอ
เรื่อง ชนิด วัตภุประสงค์ : เพื่อให้เด็กแยกประเภท
1.มีปากกากับดินสอวางอยู่รวมกันและถามเด็กคิดว่ามีอยู่ทั้งหมดเท่าไหร่(เรียก
ว่าขั้นอนุรักษ์ เด็กจะตอบด้วยตาเห็นยังไม่รู้จักใช้เหตุผล)2.จากนั้นนับร่วมกันเพื่อพิสูจน์คำตอบของเด็ก(นับจากซ้ายไปขวาเหมือนการอ่านหนังสือของเด็ก)3.ตั้งเกณฑ์ 1 เกณฑ์ (ที่เป็นปากกา และ ไม่ใช่ปากกา) และหยิบที่ใช่ปากกาออกมา
Lesson 9
บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
( Science Experiences Management for Early Childhood )
อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
วัน ศุกร์ ที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2557
Lesson 8
บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
( Science Experiences Management for Early Childhood )
อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
วัน ศุกร์ ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2557
Lesson 7
บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
( Science Experiences Management for Early Childhood )
อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
วัน ศุกร์ ที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2557
เวลา 13:10 - 16:40 น.
วิธีการทำ
- นำแกนทิชชูมาตัดครึ่ง
- นำกระดาาษมาตัดให้เป็นวงกลมและวาดรูปตกแต่งให้สวยงาม
การนำไปใช้สอนเด็กปฐมวัย
เพื่อนออกมานำเสนอบทความ
- การพัฒนาทักษะทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
- สอนลูกเรื่องความลับของแสง
- เรียนรู้วิทยาศาสตร์ผ่านนิทาน
- สอนลูกเรื่องไฟฉาย
- การสอนเรื่องแรงโน้มถ่วง
กิจกรรมทำในห้องเรียน
อุปกรณ์
- แกนกระดาษทิชชู
- เชือก
- สี
- กรรไกร
- นำแกนทิชชูมาตัดครึ่ง
- นำกระดาาษมาตัดให้เป็นวงกลมและวาดรูปตกแต่งให้สวยงาม
- กลับด้านแกนทิชชูและเจาะรูระหว่างกึ่งกลาง
- ร้อยเชือกเข้ากับรูทั้งสองข้างและผูกปม
- ติดกระดาษวงกลมที่เราวาดไว้ด้านหน้า
สื่อชิ้นนี้สอนวิทยาศาสตร์ในเรื่อง
การเกิดพลังงานศักย์และการหักเหจากแรงดึงเชือกให้ตึงและการกางเชือกด้านล่างออกดึงขึ้น
ดึงลงไปเรื่อย ๆ
สอนในเรื่องการปะดิษฐ์วิทยาศาสตร์ที่ง่าย ๆ เหมาะสมกับช่วงวัยของเด็ก เด็กสามารถลงมือปฏิบัติ
ได้ด้วยตนเอง เด็กจะได้คิดค้นลองวิธีการเล่นที่แปลกใหม่ไปจากเพื่อน ได้การสังเกตวิธีการจะทำแบบ
ใดให้ของเล่นเคลื่อนที่ได้ เด็กยังเกิดความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบชิ้นงานของเด็กเอง
Evaluation
Self : เข้าใจเนื้อหาที่อาจารย์สอน ตั้งใจฟังเพื่อนออกมานำเสนอแผนการสอน มาเรียนตรงเวลา มีการจดบันทึก
Friends : เพื่อนมีการจดบันทึกเมื่ออาจารย์สอนและที่เพื่อนออกมานำเสนอ
Teacher : อาจารย์มาสอนก่อนเวลา มีการนำสื่อมาให้นักศึกษาทำ อาจารย์บอกข้อเสนอแนะวิธีการเขียนแผน อาจารย์สอน
เข้าใจง่าย
เข้าใจง่าย
Lesson 6
บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
( Science Experiences Management for Early Childhood )
อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
วัน ศุกร์ ที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2557
เวลา 13:10 - 16:40 น.
Evaluation
Friends : มีความใส่ใจในการเรียนรู้ที่จะทำกิจกรรม และมีความร่วมมือเป็นอย่างดี
Teacher : มีการวางแผนในการจัดกิจกรรม แนวความคิดที่แปลกใหม่ การเรียนรู้ที่สามรถเรียนรู้เข้าด้วยกันกับวิชาวิทยาศาสตร์
Activities : ท้าลมหมุนด้วยกระดาษ
Type 1
Steps 1 : ตัดกระดาษความกว้างประมาณ 2ซม./ ความสูง ประมาณ 2 นิ้ว
Steps 2 : พับครึ่งกระดาษ จากความสูงลงมาแล้วกางออก
Steps 3 : ตัดกระดาษจากด้านล่าง(ไปถึงเส้นกลางที่พับเมื่อสักครู่)และพับให้ปีกไปคนละฝั่ง
Steps 4 : กลับกระดาษลงมาอีกด้านที่ไม่มีรอยตัด ให้พับปลายขึ้นประมาณ 1ซม.และใช้คลิปหนีบกระดาษกลัดไว้ตรงกลาง
Type 2
Steps 1 : ตัดกระดาษความกว้างประมาณ 2ซม./ ความสูง ประมาณ 2 นิ้ว
Steps 2 : พับครึ่งกระดาษ จากความสูงลงมาแล้วกางออก
Steps 3 : ตัดกระดาษจากด้านล่างขึ้นไปเล็กน้อย(ไม่ต้องถึงเส้นกลางที่พับเมื่อสักครู่)และพับให้ปีกไปคนละฝั่ง
Steps 4 : กลับกระดาษลงมาอีกด้านที่ไม่มีรอยตัด ให้พับปลายขึ้นประมาณ 1ซม.และใช้คลิปหนีบกระดาษกลัดไว้ตรงกลาง
สรุปความรู้จากของเล่น(The knowledge of Toys)
เหตุที่หมุนได้เกิดจาก
1.แรงโน้มถ่วงจากที่สูงลงสู่ที่ต่ำ
2.น้ำหนัก
3.พื้นที่ของปีกกระดาษ
4.อากาศ ซึ่งเป็นสิ่งหนุนรองที่ทำให้ตกลงช้า
การนำไปใช้กับเด็กปฐมวัย(Applied to children)
ในสอนครูควรให้เด็กได้ศึกษาทดลองด้วยตนเองก่อน โดยไม่ควรบอกสาเหตุกับเด็กว่าเพราะอะไรหรือเล่นโดยวิธีไหนแต่จะใช้คำถามและให้เด็กค้นพบด้วยตนเอง เช่น เด็กๆมีวิธีการอย่างไรแบบไหนบ้างคะ,แล้วเพราะอะไรถึงเป็นเช่นนี้ ก็จะทำให้เด็กได้คิดหาคำตอบ และได้คำตอบที่หลากหลายของแต่ละคน
1.สงสัย (wonder)
2.สังเกต (observe)
3.วิเคราะห์ (Analysis)
4.เปรียบเทียบ (Compare)
5.ตั้งสมมุติฐาน (hypothesized)
6.การแก้ปัญหา (The solution)
Evaluation
Self : ได้รู้ถึงเทคนิคการจัดทำสื่อเพื่อนำไปจัดประสบการณ์ให้แก่เด็กปฐมวัย เพื่อให้เด็กได้เรียนรู้ กระบวนการคิด และยังสามารถลงมือปฏิบัติได้ด้วยตนเองอีกด้วย
Friends : มีความใส่ใจในการเรียนรู้ที่จะทำกิจกรรม และมีความร่วมมือเป็นอย่างดี
วันพฤหัสบดีที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557
Lesson 5
บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
( Science Experiences Management for Early Childhood )
อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
วัน ศุกร์ ที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2557
เวลา 13:10 - 16:40 น.
กิจกรรมพับกระดาษ
วิธีทำ
* พับกระดาษครึ่งหนึ่งเท่าๆกัน
* วาดภาพลงบนกระดาษตามจินตนาการ (ทั้งสองด้าน)
* นำก้านไม้ลูกชิ้นมา ใช้เตปใส หรือกาวติดไปที่กระดาษตรงกลางข้างใน
* จากนั้นใช้แม็ค แม็คกระดาษทั้งสองด้าน
วิธีการเล่น
* นำก้านไม้ลูกชิ้นที่ประดิษฐ์เรียบร้อยแล้วนำมาวางไว้ตรงกลางมือใช้มือซ้ายและมือขวาประกลบเข้าหากันและเรื้อนไปข้างหน้าข้างหลังให้ก้านไม้ลูกชิ้นหมุนไปหมุนมา มองดูจะเป็นภาพ3มิติ เหมือนดังภาพปลานั้นจะเหมือนอยู่ใหนโหลปลา
ข้อผิดพลาด
* ดังภาพปลานั้นใหญ่กว่าโหลจึงทำให้ตัวปลาเกินออกจากโหล ไม่มีความพอดี เนื่องจากว่าครั้งแรกไม่ทราบว่าสิ่งที่ทำนี้คืออะไรนั้นเอง
ข้อแก้ไข
* เมื่อทราบถึงข้อผิดพลาดจึงทำให้มีการเรียนรู้ และนำไปปรับใช้ในการจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสม สมบูรณ์ เช่นการจัดประสบการณ์ให้แก่เด็กปฐมวัย
Evaluation
Self : มีความตั้งใจในการเรียนรู้ที่จะทำกิจกรรมในห้องเรียนมีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์จากเพื่อนในห้องเรียน ก่อนการทำกิจกรรมนั้นมีแนวความคิดที่แตกต่างจากเพื่อน
Friends :เพื่อนทุกคนต่างตื่นเต้นในการเรียนรู้ที่จะทำกิจกรรมในห้องเรียน เพื่อนบางคนมีความคิดที่แปลกใหม่
Teacher : มีเทคนิคการสอนที่ดี มีการวางแผนในการให้นักศึกษาทำกิจกรรม โดยไม่กำหนดหรือปิดกั้นความคิด จินตนาการของผู้เรียน เมื่อนักศึกษาทำสื่อเสร็จ อาจารย์มีการสรุปในการเรียนเกี่ยวกับกิจกรรมในครั้งนี้ เพื่อเป็นแนวทางในการเรียนรู้การจัดประสบการณ์จริงให้เกิดการเรียนรู้กับเด็กปฐมวัยต่อไป
* นำก้านไม้ลูกชิ้นที่ประดิษฐ์เรียบร้อยแล้วนำมาวางไว้ตรงกลางมือใช้มือซ้ายและมือขวาประกลบเข้าหากันและเรื้อนไปข้างหน้าข้างหลังให้ก้านไม้ลูกชิ้นหมุนไปหมุนมา มองดูจะเป็นภาพ3มิติ เหมือนดังภาพปลานั้นจะเหมือนอยู่ใหนโหลปลา
ข้อผิดพลาด
* ดังภาพปลานั้นใหญ่กว่าโหลจึงทำให้ตัวปลาเกินออกจากโหล ไม่มีความพอดี เนื่องจากว่าครั้งแรกไม่ทราบว่าสิ่งที่ทำนี้คืออะไรนั้นเอง
ข้อแก้ไข
* เมื่อทราบถึงข้อผิดพลาดจึงทำให้มีการเรียนรู้ และนำไปปรับใช้ในการจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสม สมบูรณ์ เช่นการจัดประสบการณ์ให้แก่เด็กปฐมวัย
Evaluation
Self : มีความตั้งใจในการเรียนรู้ที่จะทำกิจกรรมในห้องเรียนมีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์จากเพื่อนในห้องเรียน ก่อนการทำกิจกรรมนั้นมีแนวความคิดที่แตกต่างจากเพื่อน
Friends :เพื่อนทุกคนต่างตื่นเต้นในการเรียนรู้ที่จะทำกิจกรรมในห้องเรียน เพื่อนบางคนมีความคิดที่แปลกใหม่
Teacher : มีเทคนิคการสอนที่ดี มีการวางแผนในการให้นักศึกษาทำกิจกรรม โดยไม่กำหนดหรือปิดกั้นความคิด จินตนาการของผู้เรียน เมื่อนักศึกษาทำสื่อเสร็จ อาจารย์มีการสรุปในการเรียนเกี่ยวกับกิจกรรมในครั้งนี้ เพื่อเป็นแนวทางในการเรียนรู้การจัดประสบการณ์จริงให้เกิดการเรียนรู้กับเด็กปฐมวัยต่อไป
Lesson 4
บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
( Science Experiences Management for Early Childhood )
อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
วัน ศุกร์ ที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2557
เวลา 13:10 - 16:40 น.
Evaluation
Friends : มึความสนใจในการเรียนรู้เรื่องของบทความจากเพื่อนที่ได้นำเสนอ และการสรุปเนื้อหาของวิทยาศาสตร์จากอาจารย์
Teacher : ชี้แนะการนำเสนอบทความของแต่ละบุคคล บุคลิกภาพการนำเสนอ การเชื่อมโยงบทความเข้ากับเนื้อหาวิทยาศาสตร์
Content
Evaluation
Self : ตั้งคำถามในหัวข้อที่เพื่อนได้นำเสนอบทความ เข้าใจและโต้ตอบในบทความนั้นๆ
Friends : มึความสนใจในการเรียนรู้เรื่องของบทความจากเพื่อนที่ได้นำเสนอ และการสรุปเนื้อหาของวิทยาศาสตร์จากอาจารย์
วันอังคารที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557
Lesson 3
บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
( Science Experiences Management for Early Childhood )
อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
วัน ศุกร์ ที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2557
เวลา 13:10 - 16:40 น.
Knowledge
Knowledge
* การเรียนรู้ของเด็กนั้นเด็กสามารถเรียนรู้จากสิ่งรอบข้างจากการที่เด็กได้ลงมือปฏิบัติ
* เครื่องมือที่เด็กสามารถเรียนรู้ได้นั้นต้องผ่านจากประสานสัมผัสทั้ง 5 ได้อย่างเหมาะสม
* การเรียนรู้ที่สามารถทำให้ผู้เรียนนั้นได้พัฒนาต่อยอดจากการเรียนรู้เดิมกับการเรียนรู้ใหม่ไปด้วยกัน
สรุปบทความ
บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
( Science Experiences Management for Early Childhood )
อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
วัน ศุกร์ ที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2557
เวลา 13:10 - 16:40 น.
สรุปบทความ
สรุปบทความ
เรื่อง การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ปฐมวัย โดย มิสวัลลภา ขุมหิรัญ
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ควรเน้นให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางเปิดโอกาสให้เด็กมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมมีประสบการณ์ตรง ได้ลงมือปฏิบัติจริงโดยมีครูเป็นผู้ตอบสนองความสนในของเด็กและส่งเสริมการจัดโครงสร้างความคิดจากประสบการณ์ เพื่อพัฒนามุมมองและความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์ รวมถึงการส่งเสริมทัศนคติเกี่ยวกับการดูแลและมีความรับผิดชอบที่รักษาสิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัวอย่างเหมาะสมตามวัย
อย่างไรก็ตาม การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยยังไม่ได้รับการส่งเสริมให้แพร่หลายอาจเนื่องด้วยการศึกษาปฐมวัยมิได้เป็นการศึกษาภาคบังคับและในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยได้กำหนดกรอบสาระของหลักสูตรไว้กว้างๆทำให้สาระของการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ไม่มีความชัดเจน สสวท.จึงร่วมกับกลุ่มนักวิชาการ พัฒนากรอบมาตรฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ปฐมวัยขึ้นเพื่อเป็นแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาการจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยที่สอดคล้องกับหลักสูตรปฐมวัย พุทธศักราช 2546 และอยู่บนพื้นฐานของมาตรฐานการเรียนรู้การศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2544 โดยมีหลักในการเลือกเนื้อหา 3 ประการดังนี้ 1.ขอบเขตเนื้อหาวิทยาศาสตร์ 2.ความเหมาะสมต่อพัฒนาการและความสามารถในการเรียนรู้ของเด็ก 3.สามารถนำไปปฏิบัติจริงได้
อย่างไรก็ตาม การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยยังไม่ได้รับการส่งเสริมให้แพร่หลายอาจเนื่องด้วยการศึกษาปฐมวัยมิได้เป็นการศึกษาภาคบังคับและในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยได้กำหนดกรอบสาระของหลักสูตรไว้กว้างๆทำให้สาระของการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ไม่มีความชัดเจน สสวท.จึงร่วมกับกลุ่มนักวิชาการ พัฒนากรอบมาตรฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ปฐมวัยขึ้นเพื่อเป็นแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาการจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยที่สอดคล้องกับหลักสูตรปฐมวัย พุทธศักราช 2546 และอยู่บนพื้นฐานของมาตรฐานการเรียนรู้การศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2544 โดยมีหลักในการเลือกเนื้อหา 3 ประการดังนี้ 1.ขอบเขตเนื้อหาวิทยาศาสตร์ 2.ความเหมาะสมต่อพัฒนาการและความสามารถในการเรียนรู้ของเด็ก 3.สามารถนำไปปฏิบัติจริงได้
วันอาทิตย์ที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557
Lesson 2
บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
( Science Experiences Management for Early Childhood )
อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
วัน ศุกร์ ที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2557
Lesson 1
บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
( Science Experiences Management for Early Childhood )
อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
วัน ศุกร์ ที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2557
เวลา 13:10 - 16:40 น.
อาจารย์ชี้แนะเกี่ยวกับรายวิชา บอกจุดประสงค์ในการเรียนวิชานี้ ในรายวิชานี้สามารถนำไปปรับใช้กับเด็กปฐมวัยอย่างไรให้เหมาะสม มีการยกตัวอย่างนักทฤษฎีเพื่อให้ยึดเป็นแนวทางในการเรียนรู้ และจัดประสบการณ์เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ให้เหมาะกับพัฒนาการของเด็กปฐมวัย
Evaluation
Self : รู้สึกตื่่นเต้นในการเรียนรู้สิ่งใหม่ในรายวิชานี้ และการเรียนรู้ที่จะนำไปใช้จริง
Friends : เพื่อนๆบางส่วนมีความคิดที่ว่าวิทยาศาสตร์นั้นจะสามรถนำไปพัฒนาให้เด็กนั้นเรียนรู้อย่างไรจึงจะเหมาะสม
Teacher : มีแนวทาง และกระบวนการที่นำเทคนิคการสอนเหมาะสมกับรายวิชานี้ ก่อนที่เด็กจะเรียน เพื่อให้เด็กนั้นได้เข้าใจก่อนการเรียนรู้
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)